ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : ผ่อนหนักให้เป็นเบา
มาตรฐานการเรียนรู้ : พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง
ตัวชี้วัด :
1. แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี
สาระสำคัญ :
คนเรามีชีวิตอยู่ได้เพราะหัวใจเต้นและมีการหายใจ คนปกติมีชีวิตอยู่ได้ด้วยระบบสำคัญ 2 ระบบ คือระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด ระบบหายใจ ซึ่งมีปอดเป็นอวัยวะสำคัญ จะทำงานโดยหายใจเอาอากาศดีที่มีออกซิเจนสูงจากอากาศภายนอก ผ่านจมูก และ หลอดลมเข้าไปในปอด แล้วหายใจเอาอากาศเสียที่มีคาร์บอนไดออกไซด์จากในปอดผ่านหลอดลม และ จมูกออกมาสู่ภายนอก
ระบบไหลเวียนเลือดมีหัวใจเป็นอวัยวะสำคัญ ทำงานโดยหัวใจจะสูบฉีดเลือดที่รับออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยง เซลล์ต่างๆ ของร่างกาย เช่น สมอง ลำตัว แขนขา แล้วรับคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นของเสียจากการทำงาน ของเซลล์มาที่ปอด เพื่อให้ระบบหายใจพาออกไปทิ้งยังอากาศนอกตัวเรา สาเหตุที่ทำให้หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น ภาวะหยุดหายใจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น จมน้ำ, เป็นอัมพาต, สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดิน ลมหายใจ,สูดดมควันเข้าไปมาก, ได้รับยาเกินขนาด, ไฟฟ้าดูด , อยู่ในที่ไม่มีอากาศหายใจ, บาดเจ็บ, กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน,ฟ้าผ่า และสมองเสียการทำงานจนโคม่าจากสาเหตุต่างๆ
ภาวะหัวใจหยุดเต้นหมายถึงการไหลเวียนเลือดหยุดลงอย่างสิ้นเชิง ซึ่งทราบได้จากการหมดสติไม่มีการเคลื่อนไหว ไม่มีอาการไอ คลำชีพจรไม่ได้ ไม่มีการหายใจอย่างที่เป็นตามปกติ ภาวะหัวใจหยุดเต้น เกิดขึ้นจากสาเหตุหลาย อย่าง เช่น ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันจากหลอดเลือดหัวใจตีบหรือที่เรียกกันว่า หัวใจวาย หรืออาจเกิดขึ้น ตามหลังภาวะหยุดหายใจ
คนที่หยุดการหายใจและหัวใจหยุดเต้นไปแล้ว ยังมีโอกาสฟื้นได้ เมื่อใครก็ตามหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น หากมีใครสักคนรีบทำการช่วยชีวิต ขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support- BLS) ก็จะทำให้มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดและมีเลือดไหลเวียนเอาออกซิเจนไป เลี้ยง สมองเพียงพอที่จะทำให้สมองยังทำงานได้โดยไม่เกิดสมองตาย คนผู้นั้นจึงยังมีโอกาสที่จะกลับฟื้นขึ้นมามีชีวิตปกติได้ เราจึงควรรู้ทั้งวิธี หรือขั้นตอนที่ถูกต้องเพื่อที่จะได้ช่วยชีวิตผู้อื่นได้ทันเวลา
สาระการเรียนรู้ :
• การช่วยชีวิตเบื้องต้น
• การบรรยายโดยวิทยากร เรื่อง การช่วยชีวิตเบื้องต้น
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1. ความสามารถในการคิด ผู้เรียนสามารถคิดและปฏิบัติการช่วยชีวิตเบื้องต้นได้
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในการดำรงชีวิตและดูแลตนเองได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และตั้งใจในการเรียนการสอน
2. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริตต่องานที่ได้รับมอบหมายและมีความตั้งใจจริงที่จะทำผลงานของตนเองออกมาให้ดี
3. ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามที่ครูได้รับมอบหมาย
4. ผู้เรียนจะต้องมีระเบียบ วินัยในตนเอง ปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎและระเบียบของโรงเรียนและตามข้อตกลงระหว่างครู
ชิ้นงาน/ภาระงาน; การศึกษาค้นคว้า/รานงานหน้าชิ้น
• ใบความรู้
การวัดและประเมินผล
คะแนนเข้าเรียน/การมีส่วนร่วมในชิ้นเรียน 10 %
สอบกลางภาค 20 %
สอบปลายภาค 20 %
สอบปฏิบัติ 20 %
งานเดี่ยว 20 %
การเข้าร่วมฟังบรรยาย 10 %
กิจกรรมการเรียนรู้ :
• ถาม-ตอบกันในชั่วโมงเรียน
• ทำใบงานและแลกเปลี่ยนความรู้กัน
• การปฏิบัติ
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน 1 ชั่วโมง
การบรรยายพิเศษ 1 ชั่วโมง
กลุ่มนิสิตพละ ม.5
ตราเกษตร
วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2553
สาระที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : หลีกหลบอันตราย
มาตรฐานการเรียนรู้ : พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง
ตัวชี้วัด :
ตัวชี้วัด :
1. การวางแผน กำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
2. มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
3. ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพและความรุนแรง
สาระสำคัญ :
ปัจจุบันอาชญากรรมได้เป็นปัญหาความปลอดภัยที่สำคัญประการหนึ่งของสังคม อาชญากรรมทำให้เกิดการบาดเจ็บ สูญเสียชีวิตและทรัพย์สินได้ อย่างไรก็ตามหากเรารู้จักการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยก็จะสามารถป้องกันตนเองได้ระดับหนึ่งและหากชุมชนได้มีการรวมตัวกันเป็นประชาสังคมในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร่วมมือกันสอดส่องดูแล เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุร้ายขึ้นก็จะทำให้เกิดความปลอดภัยได้
อีกปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตเรา คือ ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุต่างๆ โดยเราจะต้องรู้ว่าสาธารณภัย เป็นภัยที่เกิดได้ทั้งจากธรรมชาติและมนุษย์ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน สาธารณภัยเป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น แต่มนุษย์ทุกคนอาจประสบกับสาธารณภัยได้ จึงต้องเตรียมพร้อมทั้งในการป้องกัน การแก้ไข โดยเรียนรู้ว่าจะต้องปฏิบัติตนเองอย่างไร หากเข้าไปอยู่ในชุมชนหรืออยู่ในสถานการณ์ความรุนแรงต่างๆ
สาระการเรียนรู้ :
· อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
· เครื่องหมายจราจร
· ปัญหาความปลอดภัยในสังคมและชุมชน
· สาธารณภัย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1. ความสามารถในการคิด ผู้เรียนสามารถคิดและเข้าใจความสำคัญของการเรียนรู้เรื่อง สาธารณภัย อุบัติเหตุ
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในการดำรงชีวิตและดูแลตนเองให้ห่างไกลจากภัยต่างๆด้วยการระวังและปกป้องตนเอง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และตั้งใจในการเรียนการสอน
2. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริตต่องานที่ได้รับมอบหมายและมีความตั้งใจจริงที่จะทำผลงานของตนเองออกมาให้ดี
3. ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามที่ครูได้รับมอบหมาย
4. ผู้เรียนจะต้องมีระเบียบ วินัยในตนเอง ปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎและระเบียบของโรงเรียนและตามข้อตกลงระหว่างครู
ชิ้นงาน/ภาระงาน; การศึกษาค้นคว้า/รานงานหน้าชิ้น
· ใบความรู้
การวัดและประเมินผล
คะแนนเข้าเรียน/การมีส่วนร่วมในชิ้นเรียน 10%
สอบกลางภาค 20%
สอบปลายภาค 20%
งานกลุ่ม 25%
งานเดี่ยว 25%
คะแนนเข้าเรียน/การมีส่วนร่วมในชิ้นเรียน 10%
สอบกลางภาค 20%
สอบปลายภาค 20%
งานกลุ่ม 25%
งานเดี่ยว 25%
กิจกรรมการเรียนรู้ :
· นักเรียนถาม-ตอบกันในชั่วโมงเรียน
· ทำใบงานและแลกเปลี่ยนความรู้กัน
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง
อุบัติเหตุและความปลอดภัย 3 ชั่วโมง
ความปลอดภัยในชุมชน 2 ชั่วโมงอุบัติเหตุและความปลอดภัย 3 ชั่วโมง
สาระที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : ยาเสพติดและความเสี่ยง
มาตรฐานการเรียนรู้ : พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง
ตัวชี้วัด :
1. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติดและความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม
2. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้และจำหน่ายสารเสพติด
3. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ หรือความรุนแรงของคนไทย
สาระสำคัญ :
การดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันอาจทำให้คนเราได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุ การใช้ยาด้วยตนเอง สารเสพติดที่แพร่ระบาดในชุมชนและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวและสังคมได้ ดังนั้นจึงควรเรียนรู้ถึงการแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้วนำไปปฏิบัติ พร้อมทั้งแนะนำบุคคลอื่น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยขึ้นต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ปัญหาจากอุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง เป็นสิ่งที่มีผลกระทบต่อสวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนในชุมชนหรือสังคมควรร่วมมือกัน โดยการปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดีทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
สาระการเรียนรู้ :
• ยาเสพติด
• ความรุนแรงในสังคม
• กฎหมายและโทษของยาเสพติด
• สุขภาพจิตกับการลดภาวะความเสี่ยง
• สุขภาพกับปัจจัยเสี่ยง
• แนวทางการแก้ปัญหาและป้องกันสารเสพติด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1. ความสามารถในการคิด ผู้เรียนสามารถคิดและเข้าใจความสำคัญของการเรียนรู้เรื่อง ยาเสพติดและความรุนแรง
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในการดำรงชีวิตและดูแลตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติดและความรุนแรงต่างๆ รวมไปถึงปัจจัยเสี่ยงต่างๆด้วย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และตั้งใจในการเรียนการสอน
2. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริตต่องานที่ได้รับมอบหมายและมีความตั้งใจจริงที่จะทำผลงานของตนเองออกมาให้ดี
3. ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามที่ครูได้รับมอบหมาย
4. ผู้เรียนจะต้องมีระเบียบ วินัยในตนเอง ปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎและระเบียบของโรงเรียนและตามข้อตกลงระหว่างครู
ชิ้นงาน/ภาระงาน; การศึกษาค้นคว้า/รานงานหน้าชิ้น
• การอภิปรายกลุ่มและนำเสนอผลงานหน้าชิ้น
• ใบความรู้
การวัดและประเมินผล
คะแนนเข้าเรียน/การมีส่วนร่วมในชิ้นเรียน 10%
สอบกลางภาค 20%
สอบปลายภาค 20%
งานกลุ่ม 25%
งานเดี่ยว 25%
กิจกรรมการเรียนรู้ : ให้นักเรียนจัดกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด ความรุนแรงและความเสี่ยง พร้อมกับทำรายงานส่งอาจารย์และใบความรู้ในแต่ละชั่วโมง
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง
ยาเสพติด 1 ชั่วโมง
ความรุนแรงในสังคม 1 ชั่วโมง
สุขภาพจิตกับการลดความเสี่ยง 1 ชั่วโมง
การลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ 1 ชั่วโมง
กฎหมายยาเสพติด 1 ชั่วโมง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพ 1 ชั่วโมง
สุขภาพกับปัจจัยเสี่ยง 1 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้ : พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง
ตัวชี้วัด :
1. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติดและความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม
2. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้และจำหน่ายสารเสพติด
3. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ หรือความรุนแรงของคนไทย
สาระสำคัญ :
การดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันอาจทำให้คนเราได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุ การใช้ยาด้วยตนเอง สารเสพติดที่แพร่ระบาดในชุมชนและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวและสังคมได้ ดังนั้นจึงควรเรียนรู้ถึงการแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้วนำไปปฏิบัติ พร้อมทั้งแนะนำบุคคลอื่น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยขึ้นต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ปัญหาจากอุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง เป็นสิ่งที่มีผลกระทบต่อสวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนในชุมชนหรือสังคมควรร่วมมือกัน โดยการปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดีทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
สาระการเรียนรู้ :
• ยาเสพติด
• ความรุนแรงในสังคม
• กฎหมายและโทษของยาเสพติด
• สุขภาพจิตกับการลดภาวะความเสี่ยง
• สุขภาพกับปัจจัยเสี่ยง
• แนวทางการแก้ปัญหาและป้องกันสารเสพติด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1. ความสามารถในการคิด ผู้เรียนสามารถคิดและเข้าใจความสำคัญของการเรียนรู้เรื่อง ยาเสพติดและความรุนแรง
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในการดำรงชีวิตและดูแลตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติดและความรุนแรงต่างๆ รวมไปถึงปัจจัยเสี่ยงต่างๆด้วย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และตั้งใจในการเรียนการสอน
2. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริตต่องานที่ได้รับมอบหมายและมีความตั้งใจจริงที่จะทำผลงานของตนเองออกมาให้ดี
3. ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามที่ครูได้รับมอบหมาย
4. ผู้เรียนจะต้องมีระเบียบ วินัยในตนเอง ปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎและระเบียบของโรงเรียนและตามข้อตกลงระหว่างครู
ชิ้นงาน/ภาระงาน; การศึกษาค้นคว้า/รานงานหน้าชิ้น
• การอภิปรายกลุ่มและนำเสนอผลงานหน้าชิ้น
• ใบความรู้
การวัดและประเมินผล
คะแนนเข้าเรียน/การมีส่วนร่วมในชิ้นเรียน 10%
สอบกลางภาค 20%
สอบปลายภาค 20%
งานกลุ่ม 25%
งานเดี่ยว 25%
กิจกรรมการเรียนรู้ : ให้นักเรียนจัดกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด ความรุนแรงและความเสี่ยง พร้อมกับทำรายงานส่งอาจารย์และใบความรู้ในแต่ละชั่วโมง
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง
ยาเสพติด 1 ชั่วโมง
ความรุนแรงในสังคม 1 ชั่วโมง
สุขภาพจิตกับการลดความเสี่ยง 1 ชั่วโมง
การลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ 1 ชั่วโมง
กฎหมายยาเสพติด 1 ชั่วโมง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพ 1 ชั่วโมง
สุขภาพกับปัจจัยเสี่ยง 1 ชั่วโมง
สาระที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : สาเหตุและผลการเกิดความขัดแย้งระหว่างนักเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดำเนิน
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดำเนิน
ชีวิต
ตัวชี้วัด : วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างนักเรียน
สาระสำคัญ :
ตัวชี้วัด : วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างนักเรียน
สาระสำคัญ :
1. เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจและวิเคราะห์สาเหตุของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้
2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงผลของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างนักเรียนได้
สมรรถนะของผู้เรียน :
2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงผลของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างนักเรียนได้
สมรรถนะของผู้เรียน :
1. ความสามารถในการสื่อสาร นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องที่ได้ไปถ่ายทอดได้แบบถูกต้อง
2. ความสามารถในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ สาเหตุและผลของความขัดแย้งได้
3. ความสามารถแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นได้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต นำความรู้ที่ได้มาใช้ในการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
2. ความสามารถในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ สาเหตุและผลของความขัดแย้งได้
3. ความสามารถแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นได้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต นำความรู้ที่ได้มาใช้ในการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. มีวินัย นักเรียนต้องมีวินัยอยู่ในกฎระเบียบที่ทางโรงเรียนกำหนดไว้และต้องรู้จักควบคุมอารมณ์ของตนได้
2. มีจิตสาธารณะ รู้จักเอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ รู้จักให้อภัยซึ่งกันและกัน
ชิ้นงาน/ภาระงาน :
2. มีจิตสาธารณะ รู้จักเอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ รู้จักให้อภัยซึ่งกันและกัน
ชิ้นงาน/ภาระงาน :
ให้นักเรียนจัดกลุ่มทำงานเพื่อเป็นการสร้างความสามัคคีในกลุ่มและปลูกฝังในเรื่องของความเอื้อเฟื้อมีน้ำใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยทำงานในหัวข้อเรื่อง ผลกระทบเมื่อมีการขัดแย้งระหว่างนักเรียนเกิดขึ้นและแนวทางการแก้ไขปัญหา
การวัดประเมินผล : คะแนน 100% มาจาก
· คะแนนเข้าเรียน 10%
· รายงาน20%
· สอบกลางภาค 30%
· สอบปลายภาค 40%
กิจกรรมการเรียนรู้ : ให้นักเรียนแสดงละครภายในกลุ่มเรื่องของความขัดแย้งในนักเรียนและวิธีการแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหา
เวลาเรียน/ชั่วโมงเรียน :
เวลาเรียน/ชั่วโมงเรียน :
1.ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างนักเรียน 2 ชั่วโมง
2.การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาความขัดแย้งภายในนักเรียน 2 ชั่วโมง
2.การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาความขัดแย้งภายในนักเรียน 2 ชั่วโมง
สาระที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : ทักษะป้องกันลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
ได้ถูกต้อง
สาระสำคัญ : ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
สาระการเรียนรู้ : ทักษะการลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1.ความสามารถในการสื่อสาร นักเรียนสามารถนำทักษะการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัวไปถ่ายทอดได้อย่างถูกต้อง
2.ความสามารถในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ถึงทักษะต่างๆได้
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาในครอบครัวและเรื่องเพศได้
4.ความสามารถในการใช้ชีวิต นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.อยู่อย่างพอเพียง ให้นักเรียนมีความพอใจในวิถีครอบครัวแบบพอเพียงและสุขเพียงพอ
2.รักความเป็นไทย ปลูกฝังให้รักความเป็นไทยรักษาขนบธรรมเนียมที่ดีงามเอาไว้
ชิ้นงาน/ภาระงาน : ให้นักเรียนเขียนเรียงความเรื่องครอบครัวของฉันและการแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาขึ้นภายในครอบครัว
การวัดประเมินผล : คะแนน 100% มาจาก
• คะแนนเข้าเรียน 10 %
• รายงาน 20 %
• สอบกลางภาค 30 %
• สอบปลายภาค 40 %
กิจกรรมการเรียนรู้ : ให้นักเรียนแสดงละครปัญหาในครอบครัวและมีเรื่องเพศเข้ามาเกี่ยวข้องพร้อมวิธีการแก้ปัญหาในเรื่องนั้นๆ
เวลาเรียน/ชั่วโมงเรียน :
1.ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศ 2 ชั่วโมง
2.ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาภายในครอบครัว 2 ชั่วโมง
3.การดำเนินชีวิตในสังคม 2 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
ได้ถูกต้อง
สาระสำคัญ : ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
สาระการเรียนรู้ : ทักษะการลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1.ความสามารถในการสื่อสาร นักเรียนสามารถนำทักษะการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัวไปถ่ายทอดได้อย่างถูกต้อง
2.ความสามารถในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ถึงทักษะต่างๆได้
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาในครอบครัวและเรื่องเพศได้
4.ความสามารถในการใช้ชีวิต นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.อยู่อย่างพอเพียง ให้นักเรียนมีความพอใจในวิถีครอบครัวแบบพอเพียงและสุขเพียงพอ
2.รักความเป็นไทย ปลูกฝังให้รักความเป็นไทยรักษาขนบธรรมเนียมที่ดีงามเอาไว้
ชิ้นงาน/ภาระงาน : ให้นักเรียนเขียนเรียงความเรื่องครอบครัวของฉันและการแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาขึ้นภายในครอบครัว
การวัดประเมินผล : คะแนน 100% มาจาก
• คะแนนเข้าเรียน 10 %
• รายงาน 20 %
• สอบกลางภาค 30 %
• สอบปลายภาค 40 %
กิจกรรมการเรียนรู้ : ให้นักเรียนแสดงละครปัญหาในครอบครัวและมีเรื่องเพศเข้ามาเกี่ยวข้องพร้อมวิธีการแก้ปัญหาในเรื่องนั้นๆ
เวลาเรียน/ชั่วโมงเรียน :
1.ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศ 2 ชั่วโมง
2.ทักษะในการป้องกันลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาภายในครอบครัว 2 ชั่วโมง
3.การดำเนินชีวิตในสังคม 2 ชั่วโมง
สาระที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : ค่านิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดำเนิน
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดำเนิน
ชีวิต
ตัวชี้วัด : วิเคราะห์ค่านิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่นๆ
สาระสำคัญ : เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจในค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรมต่างๆ เพื่อให้นักเรียนสามารถแยกแยะและเข้าใจในเรื่องค่านิยมเรื่องเพศได้ถูกต้อง
สมรรถนะของผู้เรียน :
ตัวชี้วัด : วิเคราะห์ค่านิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่นๆ
สาระสำคัญ : เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจในค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรมต่างๆ เพื่อให้นักเรียนสามารถแยกแยะและเข้าใจในเรื่องค่านิยมเรื่องเพศได้ถูกต้อง
สมรรถนะของผู้เรียน :
1. ความสามารถในการสื่อสาร นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องค่านิยมเรื่องเพศไปถ่ายทอดได้แบบถูกต้อง
2. ความสามารถในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณในเรื่องของเพศศึกษาได้เป็นอย่างดี
3. ความสามารถแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศได้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต นำความรู้ที่ได้มาใช้ในการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
2. ความสามารถในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณในเรื่องของเพศศึกษาได้เป็นอย่างดี
3. ความสามารถแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศได้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต นำความรู้ที่ได้มาใช้ในการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนมีการค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องใหม่ๆอยู่เสมอ
2. รักความเป็นไทย นักเรียนมีความรักนวลสงวนตัวมากขึ้นรู้จักและเข้าใจในขนบธรรมเนียมอันดีงามของไทย
ชิ้นงาน/ภาระงาน : ให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้มาจัดทำรายงานเรื่องค่านิยมเรื่องเพศโดยให้เลือกวัฒนธรรมของชาติใดก็ได้มา1ชาติ
2. รักความเป็นไทย นักเรียนมีความรักนวลสงวนตัวมากขึ้นรู้จักและเข้าใจในขนบธรรมเนียมอันดีงามของไทย
ชิ้นงาน/ภาระงาน : ให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้มาจัดทำรายงานเรื่องค่านิยมเรื่องเพศโดยให้เลือกวัฒนธรรมของชาติใดก็ได้มา1ชาติ
การวัดประเมินผล : คะแนน100%
· คะแนนเข้าเรียน10%
· รายงาน20%
· สอบกลางภาค 30%
· สอบปลายภาค 40%
กิจกรรมการเรียนรู้ : ให้นักเรียนแสดงละครในเรื่องค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรมแบ่งกลุ่มให้เท่ากันแสดงตามวัฒนธรรมของชาติที่ตนเลือกได้
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง :
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง :
1.ค่านิยมในเรื่องเพศของวัฒนธรรมต่างๆ 2 ชั่วโมง
2.ข้อดีข้อเสียของขนบธรรมเนียมของวัฒนธรรมต่างๆ 1 ชั่วโมง
3.วัฒนธรรมไทยสอนอะไรในเรื่องเพศ 1 ชั่วโมง
4.การรู้จักคุณค่าในตนเอง 1 ชั่วโมง
2.ข้อดีข้อเสียของขนบธรรมเนียมของวัฒนธรรมต่างๆ 1 ชั่วโมง
3.วัฒนธรรมไทยสอนอะไรในเรื่องเพศ 1 ชั่วโมง
4.การรู้จักคุณค่าในตนเอง 1 ชั่วโมง
สาระที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : อิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของสังคม
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรม
มาตรฐานการเรียนรู้ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรม
ทางเพศและการดำเนินชีวิต
สาระสำคัญ :
สาระสำคัญ :
ในปัจจุบันถือว่าครอบครัว นั้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม นอกจากนั้นปัจจัยอื่นๆก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมเช่นกัน ดังนั้นสิ่งที่ส่งผลกระทบต่อสังคมจึงเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของคนในสังคมทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมของบุคคลภายในสังคม ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันภายในสังคม พฤติกรรมทางเพศของคนในสังคม วัฒนธรรมต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในสังคม เพศ ฯลฯ ทั้งหมดนี้จัดว่าเป็นองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเกิดพฤติกรรมของสังคมทั้งสิ้น ดังนั้นการที่จะอยู่ร่วมภายใต้สังคมนั้น ต้องมีการเคารพในกฎของสังคม การปฎิบัติตามกฎระเบียบของสังคม การเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเองและสังคม
อิทธิพลต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทางเพศและการดำเนินชีวิต เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ พฤติกรรมการรักร่มเพศ เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมรักร่วมเพศนี้ก็นับว่าส่วนหนึ่งสังคมยอมรับแล้วแต่เพียงบางส่วนเท่านั้น แต่ทางสังคมไทยนั้นยังไม่ค่อยยอมรับในพฤติกรรมของกลุ่มคนเหล่านี้เท่าไหร่นัก จากที่กล่าวมานั้นก็ชี้ให้เห็นถึง วัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไปของบุคคลภายในสังคม และเราจะต้องดำเนินชีวิตอย่างไรภายในสังคม อิทธิพลที่ส่งผลกระทบต่อสังคมมากที่สุดก็คือ การไม่เข้าใจกันของคนในสังคมเพราะการที่เราจะอยู่ร่วมกันในสังคมได้นั้น คนในสังคมต้องมีความรักซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีกันภายในสังคมเพราะหากเรามีความแตกแยกกันภายในสังคม ก็จะส่งผลให้สังคมนั้นไม่สงสุขมีแต่ความเดือดเนื้อร้อนใจกันถ้วนหน้าได้เป็นต้น
อิทธิพลต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทางเพศและการดำเนินชีวิต เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ พฤติกรรมการรักร่มเพศ เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมรักร่วมเพศนี้ก็นับว่าส่วนหนึ่งสังคมยอมรับแล้วแต่เพียงบางส่วนเท่านั้น แต่ทางสังคมไทยนั้นยังไม่ค่อยยอมรับในพฤติกรรมของกลุ่มคนเหล่านี้เท่าไหร่นัก จากที่กล่าวมานั้นก็ชี้ให้เห็นถึง วัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไปของบุคคลภายในสังคม และเราจะต้องดำเนินชีวิตอย่างไรภายในสังคม อิทธิพลที่ส่งผลกระทบต่อสังคมมากที่สุดก็คือ การไม่เข้าใจกันของคนในสังคมเพราะการที่เราจะอยู่ร่วมกันในสังคมได้นั้น คนในสังคมต้องมีความรักซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีกันภายในสังคมเพราะหากเรามีความแตกแยกกันภายในสังคม ก็จะส่งผลให้สังคมนั้นไม่สงสุขมีแต่ความเดือดเนื้อร้อนใจกันถ้วนหน้าได้เป็นต้น
สาระการเรียนรู้ :
· ทักษะในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง
· อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ทางเพศและการดำเนินชีวิต
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน :
1.ความสามารถในการสื่อสาร ถ่ายทอดความรู้ที่ได้เรียนมาแก่บุคคลอื่นได้
2.ความสามารถในการแก้ปัญหา นำความรู้ที่ได้มาใช้แก้ปัญหา
3. ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต นำความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจำวัน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
3. ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต นำความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจำวัน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนต้องมีความพยายามที่จะฝักใฝ่ในความรู้ในเรื่อง ของการดำเนินชีวิตอยู่เสมอ
2. รักความเป็นไทย นักเรียนต้องรู้จักในการรักษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยเอาไว้
ชิ้นงาน /ภาระงาน : จัดให้มีการจัดบอร์ดเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต อิทธิพลของครอบครัว วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศ
การวัดประเมินผล : คะแนน 100 % ได้จาก
2. รักความเป็นไทย นักเรียนต้องรู้จักในการรักษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยเอาไว้
ชิ้นงาน /ภาระงาน : จัดให้มีการจัดบอร์ดเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต อิทธิพลของครอบครัว วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศ
การวัดประเมินผล : คะแนน 100 % ได้จาก
· คะแนนเข้าเรียน 10%
· รายงาน 20%
· สอบกลางภาค 30%
· สอบปลายภาค 40%
กิจกรรมการเรียนรู้ : จัดให้มีการแบ่งกลุ่มพูดคุยเกี่ยวกับการวางตัวในสังคมและการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
-พูดคุยกันในเรื่องของการวางตัวว่าควรมีการวางตัวแบบไหนอย่างไรเมื่ออยู่ร่วมกันภายในสังคม ต้องวางตัวอย่างไรให้เป็นที่รัก ต้องการของบุคคลที่อยู่ร่วมกันภายในสังคม เช่นเป็นที่รักของ ครอบครัว เพื่อน ครูบาอาจารย์เป็นต้น
-บอกเกี่ยวกับแนวทางในการอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
-จากนั้นจัดทำบันทึกภายในกลุ่มของตนเอง และส่งตัวแทนออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน เพื่อเป็นการนำเสนอความคิดของบุคคลภายในกลุ่มและเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นของบุคคลภายในสังคม
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง :
-พูดคุยกันในเรื่องของการวางตัวว่าควรมีการวางตัวแบบไหนอย่างไรเมื่ออยู่ร่วมกันภายในสังคม ต้องวางตัวอย่างไรให้เป็นที่รัก ต้องการของบุคคลที่อยู่ร่วมกันภายในสังคม เช่นเป็นที่รักของ ครอบครัว เพื่อน ครูบาอาจารย์เป็นต้น
-บอกเกี่ยวกับแนวทางในการอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
-จากนั้นจัดทำบันทึกภายในกลุ่มของตนเอง และส่งตัวแทนออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน เพื่อเป็นการนำเสนอความคิดของบุคคลภายในกลุ่มและเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นของบุคคลภายในสังคม
เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมง :
ความสำคัญของครอบครัว สังคมและทักษะในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง 2 ชม.
อิทธิพลต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทางเพศและการดำเนินชีวิต 1 ชม. การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตในด้านต่างๆ 2 ชั่วโมง
อิทธิพลต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทางเพศและการดำเนินชีวิต 1 ชม. การสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตในด้านต่างๆ 2 ชั่วโมง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)